เว็บที่ให้ข้อมูลการท่องเที่ยวในจังหวัดโคราชอย่างเป็นทางการ
tourkorat-logo
เมนูหลัก
 

หน้าแรก
โฆษณากับเรา
การศึกษา
ของฝากจากโคราช
การสาธารณสุข
ประวัติความเป็นมา
โครงสร้างพืนฐาน
ประชากร
โรงแรมที่พัก
แหล่งท่องเที่ยว
การเดินทาง

PIC POST

send-pictures
 
send-your-picture

board-menu
เว็บดีมีประโยชน์ 
 
 
 
 
โฮสกับ Sun Server
arrow เริ่มต้น 300 ต่อปีได้ 300 MB
arrow วางได้มากกว่า 1 โดเมน
arrow ฟรี ร้านค้่าออนไลน์
arrow สร้างร้านค้าง่ายๆ ได้เอง
arrow มีวิดิโอสอนการใช้งาน
arrow ค้าขายออนไลน์ได้จริง
arrow ให้คำแนะนำเรื่อง SEO
 (ทำเว็บให้ติดอันดับใน Google)

 
icon สาเหตุและสถิติการป่วย


Untitled Document สาธารณสุข | สถานบริการภาครัฐ | สถานบริการภาคเอกชน | บุคลากรสาธารณสุข | อัตราส่วนบุคลากร
สาเหตุและสถิติการป่วย | สรุปปัญหาด้านสาธารณสุข


สาเหตุการป่วยด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ในปี 2537 - 2539  โรคที่เป็นมากอันดับแรก คือ
โรคอุจจาระร่วง  ตาแดง  ปอดอักเสบ  ไข้ไม่ทราบสาเหตุ  อีสุกอีใส   บิด  หัด  คางทูม  ไข้หวัดใหญ่  กามโรคต่อม
น้ำเหลือง และไข้เลือดออก

 
ข้อมูลอุบัติเหตุจราจร
จำนวนผู้ป่วย - ผู้ตาย จากอุบัติเหตุจราจรตั้งแต่เดือน มกราคม - ธันวาคม 2540 
จำนวนผู้ป่วย  64,836   คน ตายจากอุบัติเหตุ 1,203 คน
ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา : 2541

อัตราการตาย
อัตราการตายของทารกในปี 2526 มีถึง  ร้อยละ 11.76   ในปี  2538  อัตราการตายลดลงทุกปี  เหลือเพียง
ร้อยละ 9.35 อัตราการตายของมารดาในปี 2526 มี ร้อยละ 0.59
ในปี 2538 อัตราการตายไม่แตกต่างกันนักภายในระยะเวลา  10 ปี และเริ่มมีอัตราลดลงอย่างมาก
ในปี 2536 และลดลงเหลือเพียง ร้อยละ 0.03 ในปี 2538

อัตราการตายตามธรรมชาติของประชากร ในปี  2526  มีร้อยละ 1.8  และอัตราการตายยังคงอยู่ในช่วงอัตรานี้
ในระยะ  10  ปี ในปี  2536  อัตราการตาย เริ่มลดลงเหลือ ร้อยละ 0.92  และในปี  2538   มีร้อยละ 0.97
อัตราการตาย ในระยะ  13  ปี  ที่ผ่านมา    มีอัตราการตายในจำนวนคงที่  คือประมาณร้อยละ 4   ในปี 2538
มีอัตราการตายเพิ่มขึ้นอีกเล็กน้อยคือ ร้อยละ 5.04

อัตราการเกิด
อัตราการเกิด ในปี 2526 มีร้อยละ 22.02 และ อัตราการเกิดน้อยลงปีลงประมาณร้อยละ 2 จนถึงปี 2538
มีอัตราการเกิดร้อยละ 14.78  (ที่มา สูจิบัตร - มรณบัตร  : 2526 - 2538)

อัตราตรวจพบผู้ป่วยโรคเอดส์ มิ.ย. 32 - มิ.ย. 39  อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ เอชไอวี ในปี 2539  มีเพิ่มสูง
ขึ้นถึงประมาณร้อยละ 3.2 ในเขตอำเภอเมือง และมีร้อยละ 0.82 ในเขตชนบท

ผู้ป่วยโรคเอดส์ ตั้งแต่ปี 2527 -  พฤศจิกายน  2541  มีผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ 1782 ราย คิดเป็นจำนวน
ผู้ป่วยร้อยละ 33 ของจำนวนประชากรทั้งประเทศเป็นเอดส์เสียชีวิต  372  ราย 

จำนวนผู้ป่วยทางจิตในปี 2539
โรควิตกกังวล ร้อยละ 33.0
โรคจิตร้อยละ 18.4
ปัญญาอ่อนร้อยละ 13.0
โรคซึมเศร้าร้อยละ 3.4
foods-and-gifts it-com forum friends sale others complain