เว็บที่ให้ข้อมูลการท่องเที่ยวในจังหวัดโคราชอย่างเป็นทางการ
tourkorat-logo
เมนูหลัก
 

หน้าแรก
โฆษณากับเรา
การศึกษา
ของฝากจากโคราช
การสาธารณสุข
ประวัติความเป็นมา
โครงสร้างพืนฐาน
ประชากร
โรงแรมที่พัก
แหล่งท่องเที่ยว
การเดินทาง

PIC POST

send-pictures
 
send-your-picture

board-menu
เว็บดีมีประโยชน์ 
 
 
 
 
โฮสกับ Sun Server
arrow เริ่มต้น 300 ต่อปีได้ 300 MB
arrow วางได้มากกว่า 1 โดเมน
arrow ฟรี ร้านค้่าออนไลน์
arrow สร้างร้านค้าง่ายๆ ได้เอง
arrow มีวิดิโอสอนการใช้งาน
arrow ค้าขายออนไลน์ได้จริง
arrow ให้คำแนะนำเรื่อง SEO
 (ทำเว็บให้ติดอันดับใน Google)

 
icon การคมนาคมทางถนน


Untitled Document โครงสร้างพื้นฐาน | ระบบสาธารณูปโภค | ระบบโทรคมนาคม | การคมนาคมทางถนน |
การคมนาคมทางรถไฟ | การคมนาคมทางอากาศ | ปัญหาโครงสร้างพื้นฐาน |


ถนน จังหวัดนครราชสีมา มีเส้นทางคมนาคมทางบกที่สามารถติดต่อกับกรุงเทพมหานครและจังหวัดใกล้เคียงที่ค่อน
ข้างสะดวก จากงานศึกษาของ JICA (Japan International Cooperation Agency) ชี้ให้เห็นว่า    จังหวัด
นครราชสีมา มีจุดเด่นที่เหนือกว่าจังหวัดอื่น ๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ในด้านการเดินทางติดต่อทางถนน
กับกรุงเทพมหานคร และชายฝั่งทะเลตะวันออก (Eastern Sea Board) ถนนที่เป็นเส้นทางสายหลักของจังหวัด
คือ ถนนมิตรภาพที่เริ่มจากจังหวัดนครราชสีมา ขอนแก่น  อุดรธานี  และหนองคาย  นอกจากนี้จังหวัดนครราชสีมายัง
มีทางหลวงแผ่นดินสายรอง     หรือถนนที่แยกจากจังหวัดไปยังอำเภอและทางหลวงจังหวัดแยกจากอำเภอหลักไปยัง
อำเภออื่น ๆ อีก รวม  17  สายในปี พ.ศ. 2537  (มีนาคม)    จังหวัดนครราชสีมามีระยะทางถนนที่ก่อสร้างแล้วทั้ง
สิ้น  9,084.788  กิโลเมตร


road

สภาพถนนหนทางที่สะดวกสบายระหว่างกรุงเทพฯ - นครราชสีมา




จำแนกถนนตามประเภทผิวจราจร   เป็น

-ถนนลูกรัง                                        6,593.347           กิโลเมตร   คิดเป็นร้อยละ  72.580
-ลาดยาง                                           1,674.070           กิโลเมตร   คิดเป็นร้อยละ  18.430
-คอนกรีต                                             190.020           กิโลเมตร   คิดเป็นร้อยละ    2.090
-และอื่น ๆ                                             627.351          กิโลเมตร   คิดเป็นร้อยละ    6.910
-ส่วนน้อยมีสภาพที่ต้องปรับปรุง            532.254          กิโลเมตร   คิดเป็นร้อยละ  72.510
และร้อยละ 5.86  ของความยาวถนนทั้งหมดตามลำดับ


จำนวนผู้ใช้รถยนต์ในจังหวัด
สถิติจำนวนรถตามพระราชบัญญัติรถยนต์และพระราชบัญญัติล้อเลื่อน ประจำปี 2539

ประเภท

ที่จดไว้

ชำระภาษี

ตรวจสภาพ

โอน

อื่นๆ

รถยนต์นั่งส่วนบุคคล รย.1

23,044

13,436

3,074

2,833

1,217

รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน7 คน รย.2

10,696

3,116

808

960

1,674

รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล รย.3

54,824

29,212

13,886

7,225

7,409

รถยนต์สามล้อส่วนบุคคล  รย.4

 

 

 

 

 

รถยนต์รับจ้างระหว่างจังหวัด รย.5

 

 

 

 

 

รถยนต์รับจ้างบรรทุกโดยสาร รย.6

5

 

 

 

 

รถยนต์สี่ล้อเล็กรับจ้าง รย.7

 

 

 

 

 

รถยนต์รับจ้างสามล้อ รย.8

1,058

867

493

41

38

รถยนต์บริการธุรกิจ รย.9

 

 

 

 

 

รถยนต์บริการทัศนาจร

 

 

 

 

38

รถยนต์บริการให้เช่า รย.11

 

 

 

 

 

รถจักรยานยนต์ รย.12

325,815

81,225

39,509

13,289

17,74

รถแทรกเตอร์ รย.13

1,410

 

 

 

8

รถบดถนน รย.14

113

 

 

 

3

รถใช้งานเกษตรกรรม รย.15

13,694

 

 

 

2

รถพ่วง รย.16

7

12

1

 

 

ล้อเลื่อน

11,995

1,765

15

6

 

รวม

442,661

137,217

60,988

24,612

28

ร้อยละ

+ 16.85%

- 18.03%

+ 6.05%

-28.52%

32.70 %



หมายเหตุ
1.ช่องที่จดไว้ คือจำนวนรถที่จดทะเบียนไว้ทั้งหมด สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2539 ไม่รวมรถย้ายออก  รถแจ้งเลิกใช้หรือ
เปลี่ยนเป็นประเภทอื่นแล้ว
2.ตัวเลขในร้อยละ ของช่องเป็นจำนวนที่สูงขึ้นหรือต่ำกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับ พ.ศ. 2538
3.ช่องอื่นๆ เป็นการดำเนินการทางทะเบียนทั้งปวงนอกเหนือจากการชำระภาษีตรวจ
สภาพรถและโอนรถ

ที่มา : ขนส่งจังหวัดนครราชสีมา


foods-and-gifts it-com forum friends sale others complain